หน่วยแสดงผล Output
หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น
แต่เมื่อเลิกการทำงานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้
ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง
เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่
จอภาพ
เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ
ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron
และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter
ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ
เมื่อต้องทำงานนาน ๆ แต่
ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควร
ทำให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก
แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้
และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต
อุปกรณ์เสียง
หน่วย แสดงเสียง
ซึ่งประกอบขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound
card) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถฟังเพลงในขณะทำงาน
หรือให้เครื่องคอมพิวเตอร์รายงานเป็นเสียงให้ทราบเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น
ไม่มีกระดาษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้งสามารถเล่นเกมส์ที่มีเสียงประกอบได้อย่างสนุกสนาน
โดยลำโพงจะมีหน้าที่ในการแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียง เช่นเดียว
กับลำโพงวิทยุ
หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
หมายถึงการแสดงผลที่สามารถจับต้อง
และเคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ
ซึ่งผู้ใช้สามารถนำไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้
อุปกรณ์ที่ใช้เช่น
เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันมาก
และมีให้เลือกหลากหลายชนิดขึ้นกับคุณภาพและความละเอียดของการพิมพ์
ความเร็วในการพิมพ์ ขนาดกระดาษสูงสุดที่สามารถพิมพ์ได้
และเทคโนโลยีที่ใช้ในการพิมพ์
เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)

ขอบคุณข้อมูล:http://ballobey.blogspot.com/2012/10/output.html
หน่วยความจำรอง
หน่วยความจำรอง
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก
แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง
สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
ตัวอย่าง หน่วยความจำรอง
นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
ตัวอย่าง หน่วยความจำรอง
ขอบคุณข้อมูล:http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น